การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ (CPD)
 

      กำหนดให้ผู้ทำบัญชีที่ขึ้นทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้ามีการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ

1.การอบรม/สัมมนา

2.การเป็นวิทยากร

3.การเป็นอาจารย์ในสถาบันการศึกษา

4.การศึกษาเพิ่มเติม

5.การลงทะเบียนศึกษาเฉพาะรายวิชาทางการบัญชี 

ประเภทกิจกรรมและการนับชั่วโมง CPD

 -27 ชั่วโมงทุกรอบ 3 ปี และต้องเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับบัญชีไม่น้อยกว่า 18 ชั่วโมง

 -ปีละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง (เฉพาะบัญชี)

กิจกรรม การนับชั่วโมง
1.การอบรม/สัมนา -ตามระยะเวลาที่เข้าร่วมการอบรม/สัมมนา
2.การเป็นวิทยากร -3 เท่าของชั่วโมงบรรยาย

-โดยไม่ให้นับซ้ำหัวข้อเดิมในทุกรอบ 3 ปี

3.การเป็นอาจารย์ในสถาบันการศึกษา

      -สอนไม่ต่ำกว่าระดับอนุปริญญา/ปวส.ทางการบัญชี

-วิชาละ 9 ชั่วโมง โดยไม่ให้นับซ้ำหัวข้อเดิมในทุกรอบ 3 ปี

-นับได้ไม่เกิน 18 ชั่วโมง/3 ปี

4.การศึกษาเพิ่มเติมที่สูงกว่าคุณวุฒิเดิม

     -สาขาทางการบัญชี

     -สาขาที่เกี่ยวข้องกับการบัญชี

  -27 ชั่วโมง

-18 ชั่วโมง

5.การศึกษาเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบัญชีแต่ไม่สูงกว่าคุณวุฒิเดิม -9 ชั่วโมง
6.การลงทะเบียนศึกษาเฉพาะรายวิชาทางการบัญชี -6 ชั่วโมง
7.กิจกรรมอื่น  
 

เนื้อหาของกิจกรรมที่สามารถนับเป็น CPD

1.การบัญชี

2.กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี

3.กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการภาษีอากร

4.เทคโนโลยีสารสนเทศเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ

5.เรื่องอื่น ๆ ตามที่อธิบดีประกาศกำหนด 

การนับชั่วโมงทุกรอบ 3 ปี

      -ให้นับตามปีปฏิทิน

 -นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ของปีถัดจากการแจ้งเป็นผู้ทำบัญชีเป็นต้นไป

 -สำหรับรอบ 3 ปี แรกให้สามารถนำชั่วโมง CPD ตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2547 หรือตั้งแต่วันที่แจ้ง    การเป็นผู้ทำบัญชีไปรวมในรอบแรกได้ 

ตัวอย่าง 1: เป็นผู้ทำบัญชีตั้งแต่ 15 ก.พ.46 

                     10 ส.ค. 2547

                                          1 ม.ค.48  1 ม.ค.49    1 ม.ค..50     1 ม.ค.51

   

                                 ปีที่ 1       ปีที่ 2        ปีที่ 3                                         

ตัวอย่างที่ 2:เป็นผู้ทำบัญชีตั้งแต่วันที่ 15 ก.ย.47 

15 ก.ย.47

               10 ส.ค.47

                                                   1ม.ค.48   1ม.ค.49    1ม.ค.50     1ม.ค.51

                                                         ปีที่ 1      ปีที่ 2      ปีที่ 3

       

ตัวอย่าง 3: เป็นผู้ทำบัญชีตั้งแต่วันที่ 15 ม.ค.48

15 ม.ค. 48

                           10 ส.ค.47

                                                       1ม.ค.49   1ม.ค.50    1ม.ค.51     1ม.ค.52       

                                                            ปีที่ 1     ปีที่ 2      ปีที่ 3         

ตัวอย่างที่ 4: การนับชั่วโมง CPD ของการศึกษาเพิ่มเติม

จบเมื่อ 15 ม.ค.48

 

                1 ม.ค.48    1 ม.ค.49  1 ม.ค.50   1 ม.ค.51    1 ม.ค.52    1 ม.ค.53     

                      ปีที่ 1     ปีที่ 2        ปีที่ 3

ตัวอย่างที่ 5 การนับชั่วโมง CPD ของการศึกษาเพิ่มเติม

จบเมื่อ 15 ม.ค. 49

   

       1 ม.ค.48         1 ม.ค.49           1 ม.ค.50          1 ม.ค.51           1 ม.ค.52         1 ม.ค.53

 

             ปีที่ 1        ปีที่ 2             ปีที่ 3       

       

ตัวอย่างที่ 6: การนับชั่วโมง CPD ของการศึกษาเพิ่มเติม 

จบเมื่อ 15 ม.ค.50

1 ม.ค.48      1 ม.ค.49         1 ม.ค.50          1 ม.ค.51          1 ม.ค.52          1 ม.ค.53

 

           ปีที่ 1               ปีที่ 2                  ปีที่3              ที่ 4                 ปีที่ 5                 ปีที่ 6   

 

การแจ้งรายละเอียดกิจกรรม CPD

               -ทางอินเตอร์เน็ต ใน www.dbd.go.th ภายใน 60 วัน นับแต่วันสิ้นปีปฏิทินของทุกปี

 - เก็บรักษาหลักฐานการเข้าร่วมกิจกรรม CPD ไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วันสิ้นปีปฏิทินของวันที่สิ้นสุด       การทำกิจกรรมนั้น ๆ 

สถาบันที่สามารถจัด CPD

      -สถาบันการศึกษาของรัฐ/เอกชน ที่สอนไม่ต่ำกว่าอนุปริญญา/ปวส.ทางการบัญชี

 -สมาคมนักบัญชีฯ

      -หอการค้าไทย

 -หน่วยงานอื่นที่อธิบดีเห็นชอบ 

การขอรับความเห็นชอบหลักสูตรการอบรม/สัมมนา

      จัดทำเป็นหนังสือยื่นต่ออธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า พร้อมหลักฐาน

1.สำเนาบัตรประชาชนของผู้มีอำนาจทำการแทนหน่วยงาน

2.สำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีและสำเนาหนังสือรับรองของหน่วยงาน

3.รายละเอียดหลักสูตร เนื้อหา ขอบเขตวิชา

4.ระยะเวลาและค่าธรรมเนียมในการอบรม/สัมมนา

5.ชื่อ คุณวุฒิ และประสบการณ์ในการทำงานของวิทยากร       

การขอรับความเห็นชอบหลักสูตรการอบรม/สัมมนา

      -ขอรับความเห็นชอบหลักสูตรการอบรม/สัมมนาก่อนการดำเนินการ หากเป็นกรณีเร่ง ด่วน สามารถขอรับความเห็นชอบภายใน 1 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดการอบรม/สัมมนา แต่ต้องแจ้งให้ผู้เข้ารับการอบรม/สัมมนาทราบด้วยว่าอยู่ในระหว่างการพิจารณา

 -เก็บหลักฐานการลงทะเบียนไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วันสิ้นปีปฏิทินของการอบรม/สัมมนา 

การออกหนังสือรับรอง

 -ออกหนังสือรับรองให้แก่ผู้ทำบัญชีที่เข้ารับการอบรม/สัมมนา โดยมีรายการอย่างน้อยดังนี้

1. ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีหน่วยงาน

2.ชื่อผู้เข้ารับการอบรม/สัมมนาและรหัสเลขที่ผู้ทำบัญชี

3.หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา และวันที่ที่หลักสูตรได้รับความเห็นชอบ

4.วัน เวลา และจำนวนที่เข้ารับการอบรม/สัมมนา

5.ลายมือชื่อผู้มีอำนาจทำการแทนพร้อมทั้งประทับตรา

6.วันที่ออกหนังสือรับรอง 

บทลงโทษ

 -ผู้ทำบัญชี

      ปรับไม่เกิน 10,000 บาท

 -หน่วยงานผู้จัด CPD

      ยกเลิกการให้ความเห็นชอบ 

บทกำหนดโทษ  หมวด 5 ม.27-41

      -มีโทษผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี หรือผู้ทำบัญชีโดยเฉพาะ

 -โทษ ทั้งปรับ ทั้งจำ และรุนแรงขึ้น

 -อธิบดีฯ มีอำนาจเปรียบเทียบได้ กรณีการกระทำผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว หรือโทษปรับและจำคุก              ไม่เกินหนึ่งเดือน (ม.41)   


                                                                                                                                              
Top

รับทำบัญชี

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่: 


ที่อยู่  (Better-Account.com)
All Seasons Place
87/2 Wireless Road, 36/F CRC Tower
Lumpini,Phatumwan, Bangkok 10330 Thailand

Tel          : +66 (0) 2 625 3048 ; + 66 (0) 2 733 4269

Mobile    : 083 608 7383

Fax         : 02-7334270

E-Mail     : Better-acc@better-account .com

              : Vasita@better-account .com

Web Site  : Better-Account.com

 


บทความ น่ารู้
  ผู้ประกอบการมือใหม่
  การบัญชี
  ภาษีอากร

 

Create By Better Unique Accounting Co., Ltd.

รับทำบัญชี
บริการงานด้านบัญชี
บริการงานด้านภาษีอากร
บริการงานด้านจดทะเบียน